ฉายาพระสงฆ์พร้อมคำแปล อักษร
วันพฤหัสบดี ป.ผ.พ.ภ.ม. |
ปคุโณ ผู้ช่ำชอง ปทุมวณฺโณ ผู้มีวรรณดังดอกบัว ปชฺโชโต ผู้เปล่งปลั่ง ปญฺญาคาโม ผู้มีปัญญาเป็นอาคม ปทุโม ดอกบัว ปญฺญาปสุโต ผู้ขวนขวายหาปัญญา ปภงฺกโร พระอาทิตย์ ปนาโท ผู้น่านับถือ ปญฺญาภรโณ ผู้มีปัญญาเป็นอาภรณ์ ปญฺญาธโร ผู้ทรงปัญญา ปภสฺสโร ผู้รุ่งเรือง ปญฺญาวชิโร ผู้มีปัญญาดุจเพชร ปภาโต ผู้สว่างแล้ว ปญฺญาวฑฺโฒ ผู้เจริญด้วยปัญญา ปภาธโร ผู้ทรงรัศมี ปญฺญาวโร ผู้ประเสริฐด้วยปัญญา ปมุทิโต ผู้บันเทิง ปญฺญาวุโธ ผู้มีปัญญาเป็นอาวุธ ปรกฺกโม ผู้บากบั่น ปญฺญาสิริ ผู้มีสิริคือปัญญา ปริชาโน ผู้รอบรู้ ปญฺญาสิโห ผู้มีปัญญาดังสีหะ ปริปุณฺโณ ผู้เต็มรอบ ปณฺฑิโต ผู้เฉียบแหลม ปริมุตฺโต ผู้พ้นดีแล้ว ปณีตจิตฺโต ผู้มีจิตปราณีต ปริสุทฺโธ ผู้บริสุทธิ์ | ปรุฬฺโห ผู้งอกงาม ปญฺญากาโม ผู้ใคร่ปัญญา ปุญฺญากาโม ผู้ใคร่บุญ ปวฑฺฒโน ผู้เจริญมาก ปุญฺญกุสโล ผู้ฉลาดในบุญ ปสนฺโน ผู้เลื่อมใส ปุญญจฺจโย ผู้สั่งสมบุญ ปสาโท ผู้มีความเลื่อมใส ปุญฺญผโล ผู้มีผลแห่งบุญ ปหฏฺโฐ ผู้ร่าเริง ปุญฺญมโน ผู้มีใจบุญ ปิยทสฺสี ผู้มีปกติเห็นสิ่งน่ารัก ปิยธโร ผู้ทรงไว้ซึ่งธรรมเป็นที่รัก ปุณฺณสิริ ผู้มีสิริเต็ม ปุณฺณาโก ผู้มีรัศมีเต็ม ปิยธมฺโม ผู้มีธรรมเป็นที่รัก ปสฺสวโร ผู้ขาวประเสริฐ ปิยปุตฺโต ผู้มีบุตรเป็นที่รัก ปุสฺสทตฺโต ผู้ให้ของสะอาด ปิยภาณี ผู้พูดเพราะ เปมสีโล ผู้มีศีลเป็นที่รัก ปิยวณฺโณ ผู้มีวรรณน่ารัก เปสโล ผู้มีศีลเป็นที่รัก ปิยาจาโร ผู้มีมารยาทน่ารัก ปุญฺญวนฺโต ผู้มีบุญ ผลญาโณ ผู้มีความรู้เป็นผล | ผาสุกธมฺโม ผู้มีธรรมเป็นที่สบาย ผลปุญฺโญ ผู้มีบุญเป็นผล ผุฏฐธมฺโฒ ผู้ถูกต้องธรรม ผลสมฺปนฺโน ผู้สมบูรณ์ด้วยผล ผุลฺลธมฺโม ผู้มีธรรมงอกงาม ผลิโก ผู้มีผล ผุสิตธมฺโม ผู้ถูกต้องธรรม ผาสุโก ผู้มีความสุข ผาสุขกาโม ผู้ใคร่ในความสุข พทฺธธมฺโม ผู้มีธรรมอันตนผูกไว้แล้ว พลวโร ผู้มีกำลังประเสริฐ พลวุฑฺโฒ ผู้เจริญด้วยกาลัง พทฺธญาโณ ผู้มีญาณอันตนผูกไว้แล้ว พฺรหฺมโชโต ผู้มีความรุ่งเรืองดุจพรหม พุทฺธรกฺขิโข ผู้อันพระพุทธเจ้าทรงรักษา พฺรหฺมสโร ผู้มีเสียงดุจพรหม พุทฺธวิริโย ผู้มีความเพียรดุจพระพุทธเจ้า พฺรหฺมวณฺโณ ผู้มีวรรณดุจพรหม พุทฺธสรโณ ผู้ระลึกถึงพระพุทธเจ้า ภทฺทโก ผู้เจริญ ภทฺราวุโธ ผู้มีอาวุธดี ภทฺทจารี ผู้มีปกติประพฤติแต่สิ่งดี ภทฺทิโย ผู้มีปกติเจริญ ภูริจิตฺโต ผู้มีจิตประกอบด้วยปรีชา ภทฺทธมฺโม ผู้มีธรรมเจริญดี ภทฺทปญฺโญ ผู้มีปัญญาเจริญ ภูริทตฺโต ผู้ให้ดุจแผ่นดิน | ภทฺทจาโร ผู้ประพฤติดี ภูริปญฺโญ ผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน ภูริวฑฺฒโน ผู้เจริญด้วยปัญญา ภูมิปาโล ผู้รักษาแผ่นดิน มงฺคลฺโก ผู้ต้องการมงคล มุตฺตจิตฺโต ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว มณิวณฺโณ ผู้มีวรรณดุจแก้วมณี มุทิโต ผู้บันเทิง มุทุจิตฺโต ผู้มีจิตอ่อนน้อม มนฺตคุตฺโต ผู้อันมนต์คุ้มครอง มุนิจโร ผู้ประพฤติตามพระมุนี มุนิวีโร ผู้มีความเพียรดุจพระมุนี มนฺตาคโม ผู้มีมนต์เป็นอาคม มนุญฺโญ ผู้มีใจฟูขึ้น เมตฺตาสโย ผู้มีอัธยาศัยประกอบด้วยเมตตา มหาญาโณ ผู้มีความรู้ มหาปญฺโญ ผู้มีปัญญามาก มหาปุญฺโญ ผู้มีบุญมาก มหานาโม ผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง เมตฺติโก ผู้ประกอบด้วยเมตตา มหาวีโร ผู้มีความเพียรกล้าหาญ เมธาวี ผู้มีปัญญา มหาวุฑฺโฒ ผู้เจริญมาก เมธิโก ผู้ประกอบด้วยปัญญา มหพฺพโล ผู้มีกำลังมาก มานิโต ผู้อันชนยกย่อง |
Magister · Governor · Master · Teacher
การตั้งฉายาพระ
โดยพระครูสุธีวรสาร ดร.ตำแหน่ง
พระอุปัชฌาย์ · เจ้าอาวาสวัดหนองสวง · เจ้าคณะอำเภอหนองกุงศรี · อาจารย์ประจำหลักสูตร
การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
การตั้งฉายาพระ
โดยพระครูสุธีวรสาร ดร.ตำแหน่ง
พระอุปัชฌาย์ · เจ้าอาวาสวัดหนองสวง · เจ้าคณะอำเภอหนองกุงศรี · อาจารย์ประจำหลักสูตร
การศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาวิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
…เมื่อลบสิ่งที่สมมุติว่าเป็นอัตรานั้นออกไป คือความที่มีค่า มีราคาอย่างไรนั้น ของทางร่างกาย แต่ว่าไปตามแนวนึกแนวคิดของคนสมัยนี้ ก็น่านิยม และน่าส่งเสริม เช่นว่าอยากจะไม่เกิด!เป็นต้น คนสมัยนี้ ก็ย่อมต้องค้นหา คำว่า ‘เกิด!’ ในบทศัพท์ ณ ที่แห่ง ของพระคัมภีร์ ฉบับที่มีอยู่ทางอินเทอร์เน็ต ที่เป็นร่าง หรือว่าเป็นต้นฉบับสำหรับอินเทอร์เน็ต ที่ทำมา แล้วนั้น! ท่านก็หาดูว่า ตรงไหน เช่นไร บ้าง เกิดเสียความ! เกิดผิดพลาดคลาดเคลื่อนอยู่ หรือเกิดผิด พิบัติพ้นไปจากลิขิตความอย่างไรเป็นอื่น ไม่ตรง! อันจะให้มี แต่เดิม นั้น
ตอบลบเพื่อที่จะลบล้าง ออกไป หรือว่า เพื่อที่จะทำให้สมบูรณ์บริบูรณ์ ท่านก็ยึดและเชื่อคำของพระพุทธเจ้า ที่เป็นช่องทางแห่งปฏิภาณปัญญา จะเกิดได้ คือจะต้องให้ได้ชวนะ หรือขณะ ที่บทวิเศษประเสริฐ ต่อสมบูรณ์ผล กับที่บอกว่า เข้ากระทำซึ่งความสมบูรณ์บริบูรณ์ แห่งนฤมิต ลงแต่!ว่าคนหัวโบราณฝ่ายพวกเรานี้ ตามที่มีตนในเว็บไซต์ หรือว่า Blog ต่างๆ ของเราพวกฝ่ายหัวโบราณ ที่ซึ่งยึดแต่ความครึ! พวกเราเองยังไม่ได้ให้ทำกล่องข้อมูล เพื่อให้คนสมัยใหม่เข้ามาแสดงชื่อ เพื่อให้เขาเข้ามาทุ่มเทแสดงปฏิญาณชื่อ อันเมื่อใด ได้เข้ามาตรวจพิสูจน์อักษรแล้วได้ เพื่อที่จะสถิต การณ์ และกิจการ และธรรมนฤมิตความ แห่งธรรมมีนิมิต ตามสัญญานั้น ๆ
ฉะนั้นแล้ว ทุกที่ ของเว็บไซต์ราชการ ที่โบราณ และครึ! ของพวกเรานี้ ก็จึงกระทำแต่ความเกิด!ที่แก้ไขไม่ได้ โดยประชาชน และให้ทำความสมบูรณ์แห่งธรรมคติ และวรคติ ไม่ได้! โดยประชาชน เพราะว่าไม่มีการผนวก เพราะว่าไม่ให้มีกล่องพิสูจน์อักษร ของภาคคัมภีร์หลัก ตามบทที่สำคัญที่สุดของเว็บไซต์ นั้น คือคงพบว่ามีแต่เว็บไซต์ของพื้นถิ่นชนบทไกลเท่านั้น ที่ท่านทำได้บ้าง คือเว็บไซต์ ของบ้านสามแยก วังกวาง น้ำหนาว แห่งวัดเพชรบูรณ์ ฉะนั้น ประชาชนได้จัดทำเว็บไชต์อย่างเป็นทางการของงานระบบอินเทอร์เน็ต ได้ กระทั่ง ให้ตรวจทำสำทับ กระทำบทธรรมคติ กระทำคุณแห่งวรคติ แสดงปฏิญาณ ขวนขวายนามซึ่งปฏิญญาบัตร อาณัติสัญญา ให้คนมาแสดงกระทำชื่อให้เป็นจริง ให้คนมาแสดงการกระทำปฏิญาณให้เป็นจริง ได้
เรื่องนี้ ก็ถึงควรพิสูจน์ตรวจ เรื่องการเกิด หรือจะตรวจสำทับคำศัพท์ คำว่า ‘เถระ!’ ก็ได้ ถ้ามีเว็บไชต์พิเศษ ให้ตรวจวิเศษ ไปกับ Internet ที่ซึ่งว่า เป็นที่สมมุติ จะให้ธรรมซึ่งเป็นอมตะ และเป็นธรรมซึ่งธรรมเป็นปริโยสาน ว่าการใดจะเกิดแก่ธรรมนฤมิต ทุกสิ่ง ทุกคำศัพท์ หรือพ้นได้จากสมมุติ ด้วยทุกสิ่ง ทุกคำศัพท์ ‘เกิด!พระเถรธรรม’ ก็จึงต้องการ การสร้างเสริม ขวนขวายไปเฉพาะส่วน แต่ที่เขียนไม่ผิด และพิมพ์ไม่ผิดด้วย เพราะด้วยดีซึ่งบท อันซึ่งมิใช่ว่าแต่คุณค่าทางการพรรณนา เท่านั้น จะทำ แต่ว่ากันถึงคุณค่าแท้ ของสายรก ของบทร่มปก ณ ความก้าวไกลเชื่อมโยง ที่ไปถึงส่วนลี้ลับ หรือส่วนที่เรียกว่า ความขลัง! ของภาค ของภาพส่วนความ บทคาบ วันเวลา บททาบประเด็น อันที่ ณ มีอยู่ เป็นสมบัติแห่งเส้นทางแด่คุณศัพท์พิเศษ ทางธรรม ของคำศัพท์ นั้นๆ…
...siamindra...